Skip to content

ความเปลี่ยนแปลง

View changes from to


On 12 กันยายน ค.ศ. 2023 9 นาฬิกา 44 นาที 09 วินาที +0700, Gravatar ckan_admin:
  • Updated description of ข้อมูลการจัดการอาหารของชุมชน from

    ประชากรและครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือคณะกรรมการพัฒนาตำบล ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ในปี 2564 จำนวน 2,179 ตำบล ในการรายงาน ประกอบด้วยข้อมูล 2 ระดับ คือ ระดับภาพรวมประเทศ และระดับภาค โดยมีการจัดกลุ่ม 4 ภาค ดังนี้ 1) ภาคเหนือ 17 จังหวัด ประกอบด้วย เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน กำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี 2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด ประกอบด้วย กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มุกดาหาร ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี 3) ภาคกลาง 25 จังหวัด ประกอบด้วย กาญจนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท ตราด นครนายก นครปฐม ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ระยอง ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระแก้ว สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง นนทบุรี และสมุทรสงคราม 4) ภาคใต้ 14 จังหวัด ประกอบด้วย กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช พัทลุง พังงา ภูเก็ต ระนอง นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา สตูล และสุราษฏร์ธานี
    to
    แหล่งอาหารชุมชน (Community Food sources) ถือว่าเป็นพื้นที่ใกล้ตัวที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งผลิตอาหารให้แก่ครัวเรือน โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท การพึ่งพาตนเองถือเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต ดังนั้นการศึกษาบทบาทของสวนบ้านในพื้นที่ชนบท จึงสามารถแสดงให้เห็นประโยชน์ที่มนุษย์ได้รับจากการพึ่งพาแหล่งผลิตอาหารทั้งสองแหล่งนี้ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ร่วมกับการศึกษาระบบอาหารระดับครัวเรือน เพื่อศึกษากระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การบริโภค และการจัดการของเสียภายในครัวเรือน และประโยชน์ที่มนุษย์ได้รับในทางสังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และระบบนิเวศ


  • Changed value of field accessible_condition to ไม่มี in ข้อมูลการจัดการอาหารของชุมชน